เมื่อเกิดเพลิงไหม้จากก๊าซรั่ว ( Emergency Gas Deadly)
Please visit our site to read daily hot news in Khmer , Thai and English, we are updating across the Khmer and worldwide news. Kindly support use as we try to do the best to collect the news for you. Hopefully you will help to share it if you think it over as valuable information.
1. ให้สัญญาณเตือนภัย
2. กั้นเขตอันตราย ห้ามผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้า หรือจัดให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องออกนอกเขต
3. เปิดวาล์วระบบน้ำหล่อเย็นหลังถัง
4. ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ขนาดเล็ก ควรใช้เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง
หรือชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทำการฉีดตรงจุดที่ก๊าซรั่ว
หรือตรงฐานของเพลิง โดยการเข้าทางเหนือลม
6. พยายามเข้าไปหยุดการรั่วของก๊าซ โดยการปิดวาล์วต้นทางของจุดที่ก๊าซรั่ว
ควรสวมชุดผจญเพลิงพร้อมถุงมือ และเคลื่อนเข้าและออกอย่างระมัดระวัง
พร้อมทั้งมีการฉีดน้ำเป็นฉาก เพื่อกันความร้อน
7. ในกรณีที่ไม่สามารถหยุดการรั่วของก๊าซได้ ควรควบคุมไม่ให้เพลิงลุกลาม
ขยายใหญ่ขึ้น โดยการฉีดน้ำหล่อเลี้ยงตลอดเวลา
- เพื่อลดความดันในถังและท่อ โดยเฉพาะส่วนบนของถังที่มีไอก๊าซอยู่
- เพื่อลดความร้อนของฐานถังไม่ให้ล้ม และอุปกรณ์ไม่ให้เกิดการแตก
ซึ่งจะเป็นสาเหตุทำให้ก๊าซรั่วมากขึ้น
- เพื่อลดอุณหภูมิบริเวณใกล้เคียง
8. ห้ามดับเพลิงที่กลอุปกรณ์นิรภัย ( Safety Relief Valve )
วิธีปฏิบัติเมื่อก๊าซรั่ว
1. ตรวจสอบและขจัดแหล่งต้นเพลิงบริเวณที่ก๊าซรั่ว
และห้ามเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด
2. กั้นเขตอันตราย และจัดให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องออกนอกบริเวณ
3. เตรียมเครื่องดับเพลิง, อุปกรณ์ผจญเพลิงให้พร้อมที่จะปฏิบัติงาน
4. พยายามให้ก๊าซเจือจางโดยการเปิดระบบน้ำหล่อเย็นหลังถัง
และฉีดน้ำบริเวณที่เกิดการรั่ว
5. หากทำได้ ให้ปิดวาล์วต้นทางหรือซ่อมแซมเพื่อยับยั้งการรั่ว ควรเข้าทางเหนือลม โดยมีชุดป้องกัน และอุปกรณ์ที่ใช้ต้องไม่มีประกายไฟ
6. ประเมินปริมาณก๊าซรั่ว และถ้าก๊าซรั่วออกนอกบริเวณ รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ดับเพลิง
1. ให้สัญญาณเตือนภัย
2. กั้นเขตอันตราย ห้ามผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้า หรือจัดให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องออกนอกเขต
3. เปิดวาล์วระบบน้ำหล่อเย็นหลังถัง
4. ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ขนาดเล็ก ควรใช้เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง
หรือชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทำการฉีดตรงจุดที่ก๊าซรั่ว
หรือตรงฐานของเพลิง โดยการเข้าทางเหนือลม
6. พยายามเข้าไปหยุดการรั่วของก๊าซ โดยการปิดวาล์วต้นทางของจุดที่ก๊าซรั่ว
ควรสวมชุดผจญเพลิงพร้อมถุงมือ และเคลื่อนเข้าและออกอย่างระมัดระวัง
พร้อมทั้งมีการฉีดน้ำเป็นฉาก เพื่อกันความร้อน
7. ในกรณีที่ไม่สามารถหยุดการรั่วของก๊าซได้ ควรควบคุมไม่ให้เพลิงลุกลาม
ขยายใหญ่ขึ้น โดยการฉีดน้ำหล่อเลี้ยงตลอดเวลา
- เพื่อลดความดันในถังและท่อ โดยเฉพาะส่วนบนของถังที่มีไอก๊าซอยู่
- เพื่อลดความร้อนของฐานถังไม่ให้ล้ม และอุปกรณ์ไม่ให้เกิดการแตก
ซึ่งจะเป็นสาเหตุทำให้ก๊าซรั่วมากขึ้น
- เพื่อลดอุณหภูมิบริเวณใกล้เคียง
8. ห้ามดับเพลิงที่กลอุปกรณ์นิรภัย ( Safety Relief Valve )
วิธีปฏิบัติเมื่อก๊าซรั่ว
1. ตรวจสอบและขจัดแหล่งต้นเพลิงบริเวณที่ก๊าซรั่ว
และห้ามเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด
2. กั้นเขตอันตราย และจัดให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องออกนอกบริเวณ
3. เตรียมเครื่องดับเพลิง, อุปกรณ์ผจญเพลิงให้พร้อมที่จะปฏิบัติงาน
4. พยายามให้ก๊าซเจือจางโดยการเปิดระบบน้ำหล่อเย็นหลังถัง
และฉีดน้ำบริเวณที่เกิดการรั่ว
5. หากทำได้ ให้ปิดวาล์วต้นทางหรือซ่อมแซมเพื่อยับยั้งการรั่ว ควรเข้าทางเหนือลม โดยมีชุดป้องกัน และอุปกรณ์ที่ใช้ต้องไม่มีประกายไฟ
6. ประเมินปริมาณก๊าซรั่ว และถ้าก๊าซรั่วออกนอกบริเวณ รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ดับเพลิง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น